
เริ่มเข้าหน้าหนาวบ้านไร่ก็
๒ ปีมาแล้วที่คึกคักด้วยผู้คน
ปีนี้ถือเป็นโอกาสคนในชุมชนตำบลบ้านไร่ จึงซุมหัวกับอบต.บ้านไร่ และคนทำงานด้านเกษตรปลอดสาร
ชักชวนคนทำงานด้านวัฒนธรรมช
ในชื่อ “ตลาดวัฒนธรรมบ้านไฮ่บ้านเฮ
เริ่มต้นเดินเที่ยวในพื้นที
เปิดตลาดตั้งแต่เช้ายันค่ำ ใครอยากพักรถสามารถจอดพักแว
มาแล้วจะได้อะไร?
เดินแล้วจะเห็นอะไร?
แต่ละโซนมีเรื่องราว แต่ละโซนมีคุณค่าของตนเอง
๑.โซนตลาดนัดซาวไฮ่
กลุ่มคนสวนลงมือทำเอง พากันนำผลผลิตเกษตรปลอดสาร ที่มีอยู่ในสวนมาให้เลือกชม แชมพูมะกรูด งาสามสี จากไร่ดินหอม
มะขามแช่อิ่ม ผลไม้สด ๆ จากไร่กอนสะเดิน-ไร่ภูผา ปิ้งข้าวโขบ ชิมกลอยคลุก ห่อเมี่ยงคำ จากบ้านแม่เปิน เลือกซื้อผ้ามัดย้อมหลากสีท
นอกจากนี้ยังมีไอติมหลอดสมุนไพร ส้มตำโบราณ ปามไข่ทัพคล้ายขนมชั้น กะหรี่ปั๊บ มากมายให้เลือกกินอีกด้วย
๒.โซนอาหารพื้นบ้าน ขนมท้องถิ่น
ใครที่ยังไม่เคยชิมรสชาติอา
ชิมแจ่วหลากหลาย ทั้งแจ่วมะเขือส้ม แจ่วน้ำข้าว แจ่วข้าวคั่ว แจ่วมะเขือด้าน กินกับข้าวไร่หอม ๆ อร่อยกันไม่รู้ลืม หรือจะชิมหลามไก่หลามหมูอาห
๓.โซนผ้าทอลือนาม เลื่องชื่อ “ลาวบ้านไร่”
ผ่าทอบ้านไร่ มีลายงดงามติดเนื้อติดตัวมา
๔.โซนผลิตภัณฑ์ชุมชน
ผลผลิตจากในไร่ในสวนของคนบ้
๕.โซนวัฒนธรรมความงามประจำช
ปีนี้ ครูนาม แห้วเพ็ชร จัดเต็ม ขนความงามในชุมชนออกมาให้เรียนรู้ทุกเย็นย่ำ
ศิลปินท่านไหนอยากมาแจมด้วย
.
ปีใหม่ไม่รู้จะไปที่ไหน
แวะมาเที่ยวบ้านไร่ เที่ยวแก่นมะกรูดแล้ว
ขากลับลองแวะมาเดินเที่ยวตล
ขนความอร่อยกลับบ้าน เติมหัวใจกันด้วยความงามท้อ
แล้วท่านจะรู้ว่า “ของดีบ้านไร่” มีอยู่จริง ๆ
ที่น่าสนใจ งานนี้ไม่ได้ใช้งบประมาณจาก
ชาวบ้าน องค์กรท้องถิ่น หน่วยงานพัฒนา ต่างช่วยกัน
ก่อร่างสร้างงาน ให้ก่อเกิดกับชุมชนด้วยหัวใ
“หุ่นเงาทำให้เด็กมีเวทีแสดงออก การได้ออกแสดงเป็นเรื่องสำคัญเพราะเด็กมีของดีต้องได้อวด(ดี) ในเวลาที่แสดงแล้วเด็กจะรู้ว่าเมื่อถูกชมแล้วรู้สึกเป็นอย่างไร หรือเมื่อผิดพลาดแล้วรู้สึกเป็นอย่างไร เรียนรู้ที่เจ็บ และเรียนรู้ที่ยิ้ม จึงจะทำให้เด็กเติบโตและพัฒนาได้เร็ว” สุภิญญา บุญเฉลย ผู้ประสานงาน กลุ่มลูกขุนน้ำ แห่งหมู่บ้านคีรีวง จ.นครศรีธรรมราช เอ่ยคำนี้ด้วยรอยยิ้มขณะเล่าเรื่องราวของเด็กๆ ในกลุ่มลูกขุนน้ำ เธอเรียกแทนตัวเองว่ามาอู กลุ่มลูกขุนน้ำเข้าร่วมพื้นที่นี้…ดีจังเป็นปีที่ 3 เธอเล่าว่าปีแรกเป็นแขกรับเชิญและเข้าร่วมเต็มตัวใน 2 ปี หลังเธอและเด็กๆ พบความสำเร็จจากการเลือกสื่อที่ดีนั่นก็คือ “หุ่นเงา” “หุ่นเงาสามารถประสานได้ทุกฝ่าย ทำให้เด็กได้สืบค้นเรื่องราวในชุมชน ผู้ใหญ่ได้ถ่ายทอด เช็คเสียงสะท้อนจากทุกฝ่ายได้ ซึ่งต่างจากการทำเอกสารประเภทงานวิจัย เพราะสื่อหุ่นเงาเวลาเล่นจะมีเสียงตอบรับจากผู้ชมได้ในทันทีขณะเล่น ซึ่งเด็กรู้สึกและรับรู้ได้เช่นกัน ผู้ชมก็เข้าใจสิ่งที่เด็กสื่อได้บางครั้งอาจจะไม่เข้าใจแต่ก็รู้ว่าเด็กตั้งใจจะทำอะไร จากการทำโครงการที่ผ่านมาเห็นพัฒนาการของเด็ก เช่น มีระเบียบวินัย มีการฝึกซ้อม รู้เรื่องราวของชุมชน ภูมิใจที่ได้ถ่ายทอดเรื่องราวของชุมชนตนเอง” เรียนรู้ต่อเติม ด้วยความพยายามที่จะหาของดีในชุมชนแรกๆ เธอจึงชวนเด็กๆ ไปใช้ธนูคันกระสุน เป็นธนูแบบดั้งเดิมที่มีก้อนหินเป็นกระสุน ซึ่งมีอยู่เฉพาะในชุมชนนี้ และมีปราชญ์ชาวบ้านรู้เรื่องนี้ที่นี่ “มาอูรู้สึกว่าตัวเองเป็นตัวกลาง(ตัวเชื่อมระหว่างยุค โดยธรรมชาติของชุมชนคีรีวงการถ่ายทอดในทุกๆเรื่องจะส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่น)ได้จึงคิดจะให้ผู้ใหญ่สอนเด็กๆในหมู่บ้านโดยตรง แต่เนื่องจากธนูคันกระสุนเป็นเครื่องมือที่ยากเกินไปเพราะต้องฝึกฝนและต้องใช้ความชำนาญ บางคนหัดยิงพลาดไปโดนนิ้วตัวเองเกิดอันตรายกับเด็กๆ ถึงแม้จะเสียดายเพราะธนูคันกระสุนเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนก็ตามแต่ความปลอดภัยของเด็กก็ต้องมาก่อนสิ่งใด” ปีที่สองเธอจึงทำซุ้มกิจกรรมและซุ้มศิลปะในโรงเรียนแต่ละแห่งในตำบล รอบๆ หมู่บ้าน แต่ปัญหามีมาทดสอบคนตั้งใจเสมอ พอเข้าไปทำกิจกรรมกับโรงเรียนทำให้เธอรู้ว่าโรงเรียนเองก็มีภาระมาก […]
Japanดีจัง (1) พื้นที่นี้..ดีจัง มีโครงการแลกเปลี่ยนความร่วมมือพื้นที่สร้างสรรค์ไทยกับศิลปะชุมชนญี่ปุ่น โดยการสนับสนุนของ Asia Center มูลนิธิญีปุ่่น ผ่านการประสานงานอย่างแข็งขันและเอื้ออารี ของ ดร.ชิน นาคากาว่า แห่ง Urban Research Plaza มหาวิทยาลัยโอซากาซิตี้ ความช่วยเหลือเกื้อกูลฉันมิตรของ ดร.ทากาโกะ อิวาซาว่า แห่ง Hokkaido University of Education ผู้มาทำวิจัยพื้นที่นี้..ดีจัง ตระเวณไปเกือบทุกพื้นที่ เมื่อสองปีที่ผ่านมา ปีที่แล้วเราพาตัวแทนเครือข่ายพื้นที่นี้..ดีจัง ไปร่วมงานเทศกาล Obon dance และ Tropical Music Festival ที่ชุมชนดั้งเดิมมุซาซิ แห่งหมู่บ้านTotsukawa ในเขตปริมณฑลของเมืองนาระ ประเทศญีปุ่่น ปีนี้ ศิลปินญีปุ่น 4 คน มาเมืองไทยตั้งแต่วันที่ 28 กุมภา เพือร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในปฏิบัติการศิลปะชุมชน ” ดี ต่อ ใจ ณ แพร่งภูธร” โดยแบ่งออกเป็นสองสาย […]
กลุ่มเด็กเมือง ชวนตะลอนเพลินชมเมืองยิ้ม โคราชดี๋ดอกเด่ เพลินฟังประวัติศาสตร์ถนนจอมพล 4 ประตูเมืองโคราช แวะเที่ยวMuseum & เสมาลัย story house วันละ 2 รอบ ในวันเสาร์อาทิตย์ 28-29 มกราคมนี้ แล้วไปเพลินต่อที่ลานย่าโม เทศกาลงานยิ้ม โคราช 2017 มาเดี่ยวก็ไม่เหงา มาเป็นคู่ก็สนุก มาเป็นกลุ่มก็เพลินดี จองตะลอนได้ที่ 0872519768 ชวนมาเพลินกับเรื่องราวโคราชยิ้มกันค่ะ ติดตามความเคลื่อนไหวที่ FB:https://www.facebook.com/profile.php?id=100005330894729
สถาบันสื่อเด็กและเยาวชนจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการภาคีเครือข่ายในวาระ10 ปีแผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน(สสย.) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมยุทธศาสตร์และทิศทางของสสย. กับภาคีเครือข่าย ระหว่างวันที่1-3 ก.ค. 59 ณ สถาบันวิชาการ TOT โดยเช้าวันแรกเริ่มด้วยการเปิดแกลอรี่3ดี ภาคีเครือข่ายสสย. ต่อด้วยการเปิดเวที ชี้แจงวัตถุประสงค์ของงานและการสานสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย และช่วงบ่าย เปิดเวที “9 สู่ปีที่ 10: ผลการเปลี่ยนแปลง สร้างแรงบันดาลใจ” ด้วยการบอกเล่าเรื่องราวการขับเคลื่อนงานของ สสย. ตลอดระยะเวลา 9 ปีและการขับเคลื่อนงานสู่ปีที่ 10 โดยคุณเข็มพร วิรุณราพันธ์ ผู้จัดการ สสย. หลังจากนั้นให้ภาคีผลัดกันเล่าประสบการณ์ทำงานในแต่ละกลุ่มในการสร้างการเปลี่ยน แปลงตั้งแต่ระดับเยาวชน สื่อ ชุมชน จนไปถึงระดับนโยบายภายในพื่นที่ของตน เพื่อให้เห็นภาพรวมผลของการเปลี่ยนแปลงของภาคี เครือข่าย สสย.ตลอดระยะเวลาที่ได้ร่วมงานกัน วันที่สอง (2 ก.ค. 59) ช่วงเช้าเปิดเวทีวันนี้ด้วยประเด็น “ 9 ย่างสำคัญ: ความสำเร็จเชิงสร้างสรรค์” โดยให้ตัวแทนกลุ่ม บอกเล่าเรื่องราวถอดบทเรียน 9 ย่างสำคัญสู่การเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ของภาคีเครือข่ายตัวอย่าง เช่น […]